เกี่ยวกับ Inozyme
โพรไบโอติก ต่างกับ เอนไซม์อย่างไร กินร่วมกับได้...
รู้สึกว่าลำไส้ของคุณเป็นเหมือนสนามรบหรือไม่? ไขข้อสงสัยโพรไบโอติก ต่างกับ เอนไซม์อย่างไร กินร่วมกับได้มั้ย ? รู้สึกว่าลำไส้ของคุณเป็นเหมือนสนามรบหรือไม่? สำหรับหลายๆ คน คำตอบคือใช่ ในสหรัฐอเมริกา การสำรวจพบว่าผู้ใหญ่ชาวอเมริกันมากกว่าครึ่งต้องทนทุกข์ทรมานจากความไม่สบายในลำไส้และท้องอย่างเรื้อรัง การศึกษาอื่นๆ แสดงให้เห็นตัวเลขที่คล้ายคลึงกันทั่วทั้งเอเชีย รัสเซีย และยุโรป หลายคนสามารถค้นพบวิธีแก้ปัญหาลำไส้บางส่วนหรือทั้งหมดได้โดยการเปลี่ยนอาหาร บริโภคโปรไบโอติกส์ หรือเสริมด้วยเอนไซม์ย่อยอาหาร เราจะพูดคุยถึงประโยชน์ของแต่ละอย่าง กว่า 2,000 ปีที่แล้ว ฮิปโปเครติสกล่าวว่า “โรคทั้งหมดเริ่มต้นในลำไส้” ดังนั้นเราจะต้องเข้าใจสาเหตุของปัญหาในลำไส้ รวมถึงวิธีที่โปรไบโอติกส์และเอนไซม์ย่อยอาหารสามารถช่วยคืนความสมดุลได้ สาเหตุหลักของอาการลำไส้เรื้อรังหรือภาวะลำไส้รั่ว การเจริญเติบโตที่มากเกินไปของแบคทีเรียในลำไส้ที่เป็นอันตราย การแพ้อาหารและการระคายเคืองต่ออาหาร เอนไซม์ย่อยอาหารไม่เพียงพอ...
โพรไบโอติก ต่างกับ เอนไซม์อย่างไร กินร่วมกับได้...
รู้สึกว่าลำไส้ของคุณเป็นเหมือนสนามรบหรือไม่? ไขข้อสงสัยโพรไบโอติก ต่างกับ เอนไซม์อย่างไร กินร่วมกับได้มั้ย ? รู้สึกว่าลำไส้ของคุณเป็นเหมือนสนามรบหรือไม่? สำหรับหลายๆ คน คำตอบคือใช่ ในสหรัฐอเมริกา การสำรวจพบว่าผู้ใหญ่ชาวอเมริกันมากกว่าครึ่งต้องทนทุกข์ทรมานจากความไม่สบายในลำไส้และท้องอย่างเรื้อรัง การศึกษาอื่นๆ แสดงให้เห็นตัวเลขที่คล้ายคลึงกันทั่วทั้งเอเชีย รัสเซีย และยุโรป หลายคนสามารถค้นพบวิธีแก้ปัญหาลำไส้บางส่วนหรือทั้งหมดได้โดยการเปลี่ยนอาหาร บริโภคโปรไบโอติกส์ หรือเสริมด้วยเอนไซม์ย่อยอาหาร เราจะพูดคุยถึงประโยชน์ของแต่ละอย่าง กว่า 2,000 ปีที่แล้ว ฮิปโปเครติสกล่าวว่า “โรคทั้งหมดเริ่มต้นในลำไส้” ดังนั้นเราจะต้องเข้าใจสาเหตุของปัญหาในลำไส้ รวมถึงวิธีที่โปรไบโอติกส์และเอนไซม์ย่อยอาหารสามารถช่วยคืนความสมดุลได้ สาเหตุหลักของอาการลำไส้เรื้อรังหรือภาวะลำไส้รั่ว การเจริญเติบโตที่มากเกินไปของแบคทีเรียในลำไส้ที่เป็นอันตราย การแพ้อาหารและการระคายเคืองต่ออาหาร เอนไซม์ย่อยอาหารไม่เพียงพอ...
โพรไบโอติก คืออะไร ?? หัวใจแห่งความสุขภาพดี
โพรไบโอติกส์ (Probiotic) คือ จุลินทรีย์ขนาดเล็กชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ในร่างกาย โดยเฉพาะในส่วนระบบทางเดินอาหาร รวมถึงในระบบอื่นๆ ของร่างกาย รู้หรือไม่ว่า... ในร่างกายของเรามีแบคทีเรียและจุลินทรีย์อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก โดยจะมีทั้งชนิดที่มีประโยชน์ และชนิดที่ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย หรือจุลินทรีย์บางชนิดอาจส่งผลเสียต่อร่างกายได้ หนึ่งในจุลินทรีย์ชนิดหนึ่งที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ช่วยในเรื่องการทำงานของระบบย่อยอาหารหาร เสริมสร้างภูมิคุ้มกันคือ “จุลินทรีย์โพรไบโอติกส์” หรือโพรไบโอติกส์นั่นเอง โพรไบโอติก คืออะไร? โพรไบโอติกส์ (Probiotic) คือ จุลินทรีย์ขนาดเล็กชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ในร่างกาย โดยเฉพาะในส่วนระบบทางเดินอาหาร รวมถึงในระบบอื่นๆ ของร่างกาย โพรไบโอติกส์ถือเป็นจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ เนื่องจากมีส่วนช่วยในการทำงานของระบบทางเดินอาหาร...
โพรไบโอติก คืออะไร ?? หัวใจแห่งความสุขภาพดี
โพรไบโอติกส์ (Probiotic) คือ จุลินทรีย์ขนาดเล็กชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ในร่างกาย โดยเฉพาะในส่วนระบบทางเดินอาหาร รวมถึงในระบบอื่นๆ ของร่างกาย รู้หรือไม่ว่า... ในร่างกายของเรามีแบคทีเรียและจุลินทรีย์อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก โดยจะมีทั้งชนิดที่มีประโยชน์ และชนิดที่ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย หรือจุลินทรีย์บางชนิดอาจส่งผลเสียต่อร่างกายได้ หนึ่งในจุลินทรีย์ชนิดหนึ่งที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ช่วยในเรื่องการทำงานของระบบย่อยอาหารหาร เสริมสร้างภูมิคุ้มกันคือ “จุลินทรีย์โพรไบโอติกส์” หรือโพรไบโอติกส์นั่นเอง โพรไบโอติก คืออะไร? โพรไบโอติกส์ (Probiotic) คือ จุลินทรีย์ขนาดเล็กชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ในร่างกาย โดยเฉพาะในส่วนระบบทางเดินอาหาร รวมถึงในระบบอื่นๆ ของร่างกาย โพรไบโอติกส์ถือเป็นจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ เนื่องจากมีส่วนช่วยในการทำงานของระบบทางเดินอาหาร...
ไขข้อสงสัยโพรไบโอติก กินร่วมกับ เอนไซม์ ได้มั้ย ??
สำหรับใครที่ยังสงสัยอยู่ว่าโพรไบโอติก และเอนไซม์ ต่างกันยังไง แล้วสามารถกินร่วมกันได้ไหม? ต้องรีบมาอ่านบทความนี้เลยค่ะ สำหรับใครที่ยังสงสัยอยู่ว่าโพรไบโอติก และเอนไซม์ ต่างกันยังไง แล้วสามารถกินร่วมกันได้ไหม? ต้องรีบมาอ่านบทความนี้เลยค่ะ ซึ่งก็ต้องบอกเลยค่ะว่าทั้ง โพรไบโอติก (Probiotic) และ เอนไซม์ (Enzyme) ต่างมีประโยชน์ต่อร่างกายทั้งนั้น แต่ทุกตัวทำงานคนละฟังชั่นค์อย่างสิ้นเชิง โพรไบโอติกส์คืออะไร ? โพรไบโอติกส์ (Probiotics) เป็นจุลินทรีย์ขนาดเล็กซึ่งจัดเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ชนิดดี สามารถพบได้ในอาหาร เช่น นมเปรี้ยว โยเกิร์ต กิมจิ มิโสะ เป็นต้น...
ไขข้อสงสัยโพรไบโอติก กินร่วมกับ เอนไซม์ ได้มั้ย ??
สำหรับใครที่ยังสงสัยอยู่ว่าโพรไบโอติก และเอนไซม์ ต่างกันยังไง แล้วสามารถกินร่วมกันได้ไหม? ต้องรีบมาอ่านบทความนี้เลยค่ะ สำหรับใครที่ยังสงสัยอยู่ว่าโพรไบโอติก และเอนไซม์ ต่างกันยังไง แล้วสามารถกินร่วมกันได้ไหม? ต้องรีบมาอ่านบทความนี้เลยค่ะ ซึ่งก็ต้องบอกเลยค่ะว่าทั้ง โพรไบโอติก (Probiotic) และ เอนไซม์ (Enzyme) ต่างมีประโยชน์ต่อร่างกายทั้งนั้น แต่ทุกตัวทำงานคนละฟังชั่นค์อย่างสิ้นเชิง โพรไบโอติกส์คืออะไร ? โพรไบโอติกส์ (Probiotics) เป็นจุลินทรีย์ขนาดเล็กซึ่งจัดเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ชนิดดี สามารถพบได้ในอาหาร เช่น นมเปรี้ยว โยเกิร์ต กิมจิ มิโสะ เป็นต้น...
โพรไบโอติกกินตอนไหนดี กับร่างกายที่สุด ??
กินโพรไบโอติกส์ตอนไหน ทำไมกินแล้วไม่ได้ผล เกิดจากอะไร? เรามาหาคำตอบไปพร้อมๆ กันเลยค่ะ หลายคนคงสงสัยกันใช่ไหมคะว่า ทำไมบางครั้ง กินโพรไบโอติกส์ แล้วไม่เห็นผล เพราะเห็นโฆษณาว่าช่วยให้การขับถ่ายดีขึ้น ช่วยเรื่องลดน้ำหนัก และยังช่วยเรื่องภูมิแพ้ แต่กินไปแล้วกลับกลายเป็นว่าไม่ช่วยอะไรเลย หมอต้องบอกก่อนว่า เราต้องอย่าลืมว่าโพรไบโอติกส์มันมีชีวิต และโพรไบโอติกส์ไม่ใช่ยา ดังนั้นเราจึงไม่สามารถควบคุมอาการมันได้ทุกอย่างได้ มันจึงมีปัจจัยหลายๆ อย่างเข้ามาเกี่ยวข้อง หนึ่งในนั้นก็คือ ชนิด และจำนวนของโพรไบโอติกส์ที่ต้องรีบประทาน วันนี้หมอมีคำแนะนำว่าจริงๆ แล้ว เราควร กินโพรไบโอติกส์ตอนไหน กันแน่ถึงจะเห็นผล แนะนำ 10...
โพรไบโอติกกินตอนไหนดี กับร่างกายที่สุด ??
กินโพรไบโอติกส์ตอนไหน ทำไมกินแล้วไม่ได้ผล เกิดจากอะไร? เรามาหาคำตอบไปพร้อมๆ กันเลยค่ะ หลายคนคงสงสัยกันใช่ไหมคะว่า ทำไมบางครั้ง กินโพรไบโอติกส์ แล้วไม่เห็นผล เพราะเห็นโฆษณาว่าช่วยให้การขับถ่ายดีขึ้น ช่วยเรื่องลดน้ำหนัก และยังช่วยเรื่องภูมิแพ้ แต่กินไปแล้วกลับกลายเป็นว่าไม่ช่วยอะไรเลย หมอต้องบอกก่อนว่า เราต้องอย่าลืมว่าโพรไบโอติกส์มันมีชีวิต และโพรไบโอติกส์ไม่ใช่ยา ดังนั้นเราจึงไม่สามารถควบคุมอาการมันได้ทุกอย่างได้ มันจึงมีปัจจัยหลายๆ อย่างเข้ามาเกี่ยวข้อง หนึ่งในนั้นก็คือ ชนิด และจำนวนของโพรไบโอติกส์ที่ต้องรีบประทาน วันนี้หมอมีคำแนะนำว่าจริงๆ แล้ว เราควร กินโพรไบโอติกส์ตอนไหน กันแน่ถึงจะเห็นผล แนะนำ 10...
ไขข้อสงสัย กรดไหลย้อนกินอะไรหาย ??
การรักษาโรคกรดไหลย้อน ถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารแบบไหนแล้วมีอาการ ควรหลีกเลี่ยงอาหาร ที่อาจกระตุ้นให้อาการกำเริบได้ โรคกรดไหลย้อน (Gastroesophageal Reflux Disease) หรือที่เรียกกันอย่างคุ้นชินว่า “GERD” คือโรคที่เกิดจากการที่กรดในกระเพาะอาหารไหลย้อนขึ้นไปที่บริเวณหลอดอาหาร (ลำคอ) ทำให้เกิดอาการต่างๆ ได้แก่ อาการแสบร้อนกลางอก เรอเปรี้ยว ไอ คลื่นไส้ หรือ อาเจียน นอกจากการใช้ยาในการรักษาโรคกรดไหลย้อนแล้ว การปรับพฤติกรรมการกินอาหารก็ช่วยบรรเทาอาการโรคกรดไหลย้อนและช่วยให้การรักษาเห็นผลเร็วยิ่งขึ้น เมื่อหายจากโรคแล้ว ยังช่วยป้องกันไม่ให้กลับมาเป็นโรคกรดไหลย้อนได้อีก กรดไหลย้อนเกิดจากอะไร? ก่อนอื่นเรามาทำความเข้าใจกันก่อนว่าเหตุใดกรดไหลย้อนจึงมากวนใจและบางครั้งก็ทรมานจนใช้ชีวิตลำบาก อาการกรดไหลย้อนนั้นเกิดจากการไหลย้อนกลับของสารคัดหลั่งในกระเพาะอาหาร โดยปกติแล้วเมื่อเรากลืนอาหารลงไป กล้ามเนื้อหูรูดของหลอดอาหารจะคลายตัวลงเพื่อเปิดทางให้อาหารและน้ำไหลเข้าไปยังกระเพาะอาหาร จากนั้นกล้ามเนื้อหูรูดก็จะปิดลงอีกครั้ง...
ไขข้อสงสัย กรดไหลย้อนกินอะไรหาย ??
การรักษาโรคกรดไหลย้อน ถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารแบบไหนแล้วมีอาการ ควรหลีกเลี่ยงอาหาร ที่อาจกระตุ้นให้อาการกำเริบได้ โรคกรดไหลย้อน (Gastroesophageal Reflux Disease) หรือที่เรียกกันอย่างคุ้นชินว่า “GERD” คือโรคที่เกิดจากการที่กรดในกระเพาะอาหารไหลย้อนขึ้นไปที่บริเวณหลอดอาหาร (ลำคอ) ทำให้เกิดอาการต่างๆ ได้แก่ อาการแสบร้อนกลางอก เรอเปรี้ยว ไอ คลื่นไส้ หรือ อาเจียน นอกจากการใช้ยาในการรักษาโรคกรดไหลย้อนแล้ว การปรับพฤติกรรมการกินอาหารก็ช่วยบรรเทาอาการโรคกรดไหลย้อนและช่วยให้การรักษาเห็นผลเร็วยิ่งขึ้น เมื่อหายจากโรคแล้ว ยังช่วยป้องกันไม่ให้กลับมาเป็นโรคกรดไหลย้อนได้อีก กรดไหลย้อนเกิดจากอะไร? ก่อนอื่นเรามาทำความเข้าใจกันก่อนว่าเหตุใดกรดไหลย้อนจึงมากวนใจและบางครั้งก็ทรมานจนใช้ชีวิตลำบาก อาการกรดไหลย้อนนั้นเกิดจากการไหลย้อนกลับของสารคัดหลั่งในกระเพาะอาหาร โดยปกติแล้วเมื่อเรากลืนอาหารลงไป กล้ามเนื้อหูรูดของหลอดอาหารจะคลายตัวลงเพื่อเปิดทางให้อาหารและน้ำไหลเข้าไปยังกระเพาะอาหาร จากนั้นกล้ามเนื้อหูรูดก็จะปิดลงอีกครั้ง...
เช็คตัวเองด่วน !! สัญญาณอันตราย "กรดไหลย้อน อาก...
รีบเช็คตัวเองด่วน กรดไหลย้อน อาการหนักเป็นสัญญาณเตือนโรคร้าย ก่อนเป็นภาวะแทรกซ้อน โรคที่มีอาการเกิดจากการไหลย้อนกลับของกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะอาหารขึ้นไปใน หลอดอาหารส่วนบนอย่างผิดปกติ ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ในเวลากลางวันหรือกลางคืน หรือแม้แต่ผู้ป่วยไม่ได้รับประทานอาหารก็ตาม ทำให้เกิดอาการระคายเคืองจากกรด เช่น อาจทำให้เกิดหลอดอาหารอักเสบและมีแผล หรือถ้ากรดไหลย้อนขึ้นมาเหนือกล้ามเนื้อ หูรูดของหลอดอาหารส่วนบน อาจทำให้เกิดอาการนอกหลอดอาหาร เช่น อาการทาง ปอด หรือ อาการทางคอและกล่องเสียง อาการของโรคกรดไหลย้อน อาการ คือ แสบร้อนบริเวณลิ้นปี่แล้วลามขึ้นมาที่หน้าอกหรือคอ ซึ่งอาการนี้จะเป็นมากขึ้นหลังรับประทานอาหารมื้อหนัก การโน้มตัวไปข้างหน้า การยก ของหนัก หรือการนอนหงาย ส่วนอาการอื่นๆ ที่อาจพบได้คือ...
เช็คตัวเองด่วน !! สัญญาณอันตราย "กรดไหลย้อน อาก...
รีบเช็คตัวเองด่วน กรดไหลย้อน อาการหนักเป็นสัญญาณเตือนโรคร้าย ก่อนเป็นภาวะแทรกซ้อน โรคที่มีอาการเกิดจากการไหลย้อนกลับของกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะอาหารขึ้นไปใน หลอดอาหารส่วนบนอย่างผิดปกติ ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ในเวลากลางวันหรือกลางคืน หรือแม้แต่ผู้ป่วยไม่ได้รับประทานอาหารก็ตาม ทำให้เกิดอาการระคายเคืองจากกรด เช่น อาจทำให้เกิดหลอดอาหารอักเสบและมีแผล หรือถ้ากรดไหลย้อนขึ้นมาเหนือกล้ามเนื้อ หูรูดของหลอดอาหารส่วนบน อาจทำให้เกิดอาการนอกหลอดอาหาร เช่น อาการทาง ปอด หรือ อาการทางคอและกล่องเสียง อาการของโรคกรดไหลย้อน อาการ คือ แสบร้อนบริเวณลิ้นปี่แล้วลามขึ้นมาที่หน้าอกหรือคอ ซึ่งอาการนี้จะเป็นมากขึ้นหลังรับประทานอาหารมื้อหนัก การโน้มตัวไปข้างหน้า การยก ของหนัก หรือการนอนหงาย ส่วนอาการอื่นๆ ที่อาจพบได้คือ...